บทวิเคราะห์
๗.๑
ด้านกลวิธี การแต่ง
๑) การใช้คำ
กวีใช้คำที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ
โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะเด่นสะดุดความสนใจ
๑.๑)
เลือกสรรคำที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
๑.๒)
การเลือกสรรคำที่มีเสียงเสนาะ
- สัมผัส
-
การเล่มคำ
๒)
ภาพพจน์
๒.๑)
การเปรียบเทียบเกินจริง คือการกล่าวเกินจริง
เพื่อให้ได้คุณค่าทางด้านอารมณ์เป็นสำคัญ
๒.๒)
การใช้บุคคลวัต กวีใช้คำสมมุติต่างๆ
ที่ไม่ใช่มนุษย์ให้มีกิริยาอาการความรู้สึกเหมือนมนุษย์
๗.๒ ด้านสังคม
๑. นิราศนรินทร์คำโคลงมีเนื้อหาสาระที่จรรโลงวัฒนธรรม
๒. นิราศนรินทร์คำโคลงมีคุณค่าที่สะท้อนให้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในสมัยรัชการที่
๒
นิราศนรินทร์คำโคลง
เป็นตัวอย่างของโคลงนิราศชั้นเยี่ยมที่เปี่ยมด้วยความไพเราะและมีคุณค่าทางวรรณศิลป์
เหมาะสำหรับเยาวชนจะนำไปเป็นแบบอย่างในการประพันธุ์โคลงที่มีเนื้อหาพรรณอารมณ์
ความรัก และธรรมชาติ รวมทั้งรูปแบบทางฉันท์ลักษณ์ของร้อยกรองไทยได้เป็นอย่างดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น